บทวิเคราะห์ทองคำ XAUUSD ประจำวันที่ 27 พฤศจิกายน 2024

อัพเดทครั้งสุดท้าย 27 พฤศจิกายน 2024

โค้ชเกรซ

โค้ชเจน, นักวิเคราะห์ข่าวการเงิน

รายงานข่าวเศรษฐกิจสำคัญประจำวันที่ควรติดตาม


20.30 น. USD – Prelim GDP q/q
รายงานการเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP) ของสหรัฐฯ ในไตรมาสที่ผ่านมา ตัวเลขที่สูงกว่าคาดการณ์สะท้อนถึงเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ (USD) แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

20.30 น. USD – Unemployment Claims
จำนวนการยื่นขอสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ ตัวเลขต่ำกว่าคาดบ่งบอกถึงตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

20.30 น. USD – Core Durable Goods Orders m/m
การเปลี่ยนแปลงคำสั่งซื้อสินค้าคงทนพื้นฐาน ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นสะท้อนถึงความเชื่อมั่นของผู้ผลิต
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

20.30 น. USD – Durable Goods Orders m/m
วัดการเปลี่ยนแปลงคำสั่งซื้อสินค้าคงทนทั้งหมด ซึ่งสะท้อนถึงการลงทุนของผู้ผลิต
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

20.30 น. USD – Prelim GDP Price Index q/q
ตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและบริการใน GDP ซึ่งสะท้อนถึงแนวโน้มเงินเฟ้อ
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

20.30 น. USD – Goods Trade Balance
ตัวเลขดุลการค้าสินค้าของสหรัฐฯ หากขาดดุลลดลง บ่งบอกถึงการส่งออกที่แข็งแกร่ง
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ขาดดุลลดลง: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ขาดดุลเพิ่มขึ้น: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

21.45 น. USD – Chicago PMI
ดัชนีชี้วัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคการผลิตในเขตชิคาโก หากตัวเลขสูงกว่าคาดการณ์ แสดงถึงการขยายตัว
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

22.00 น. USD – Core PCE Price Index m/m
ดัชนีเงินเฟ้อพื้นฐานซึ่งเป็นตัวชี้วัดสำคัญของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED)
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

22.00 น. USD – Pending Home Sales m/m
การเปลี่ยนแปลงยอดขายบ้านรอปิดการขาย สะท้อนแนวโน้มในตลาดอสังหาริมทรัพย์
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

22.00 น. USD – Personal Income m/m
การเปลี่ยนแปลงรายได้ส่วนบุคคลของประชาชนในสหรัฐฯ ตัวเลขที่สูงขึ้นสะท้อนถึงกำลังซื้อและการบริโภคที่แข็งแกร่ง
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

22.00 น. USD – Personal Spending m/m
ตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของประชาชนในสหรัฐฯ ซึ่งสะท้อนถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวม
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ตัวเลขสูงกว่าคาด: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง

ตัวเลขต่ำกว่าคาด: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น
22.30 น. USD – Crude Oil Inventories
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำมันดิบสำรอง หากสำรองเพิ่มขึ้น บ่งบอกถึงอุปสงค์ที่ลดลง
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
สำรองเพิ่มขึ้น: USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น
สำรองลดลง: USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง

02.00 น. USD – FOMC Meeting Minutes
รายงานการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐฯ ซึ่งอาจเปิดเผยแนวโน้มนโยบายการเงินในอนาคต
ผลกระทบต่อราคาทองคำ:
ส่งสัญญาณเข้มงวด (Hawkish): USD แข็งค่า → ราคาทองคำลดลง
ส่งสัญญาณผ่อนคลาย (Dovish): USD อ่อนค่า → ราคาทองคำเพิ่มขึ้น

เหตุการณ์สำคัญประจำวัน

27 พฤศจิกายน 2567
High สูงสุด $2641
Low ต่ำสุด $2605
สรุปภาพรวมความเคลื่อนไหวราคาทองคำวันก่อน:
1.    ราคาทองคำฟื้นตัวขึ้นจากความกังวลเกี่ยวกับสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ยังมีแนวโน้มรุนแรง
2. นายโดนัลด์ ทรัมป์ ขู่เรียกเก็บภาษีการค้าจากเม็กซิโก, แคนาดา และจีน
3. ทรัมป์จะเรียกเก็บภาษีนำเข้าสินค้าทุกประเภทจากเม็กซิโกและแคนาดาในอัตรา 25% และภาษีนำเข้าสินค้าจากจีนเพิ่มอีก 10% เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีในวันที่ 20 ม.ค. 2568
4. รายงานการประชุมเฟดสะท้อนให้เห็นว่ากรรมการเฟดมีความเห็นต่างกันเรื่องการลดดอกเบี้ย
5. กองทุน SPDR ถือครองทองคำเท่าเดิม

การวิเคราะห์ทางเทคนิค

คำแนะนำสำหรับการลงทุนทองคำ:

• แนวโน้มราคาแรงซื้อเริ่มเบาลง ประกอบกับแรงขายทำกำไรสั้นเข้ามามากขึ้น ราคายังแกว่งตัวในรูปแบบ Sideway down ได้ชัดเจน
• รอราคาปรับตัวขึ้นทำกำไร ไม่สามารถยืนเหนือแนวต้าน 2,641–2,650 ดอลลาร์ต่อออนซ์ แล้วเปิดสถานะขายเพื่อเก็งกำไรระยะสั้น
• ทยอยปิดสถานะขายทำกำไร หากราคาปรับตัวลงไม่หลุดแนวรับ 2,615–2,604 ดอลลาร์ต่อออนซ์
• สถานะขายตัดขาดทุนหากราคาผ่านแนวต้าน 2,671 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ควรพิจารณาตัดขาดทุน

 

XAUSD

แนวต้าน
1 | 2650 USD

2 | 2671 USD

3 | 2689 USD

แนวรับ
1 | 2604 USD

2 | 2583 USD

3 | 2561 USD

TAGS:

เนื้อหาอื่นที่คุณอาจสนใจ

Advertisement

บทวิเคราะห์ล่าสุด

23 มกราคม 2025

22 มกราคม 2025

21 มกราคม 2025

20 มกราคม 2025

17 มกราคม 2025

16 มกราคม 2025